บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก กันยายน, 2017

สมาชิก "การจัดการอุตฯ 60 / ห้อง A "

อาจารย์ธภัทร  ชัยชูโชค       อาจารย์ปาล์ม   001  นางสาวกรรภิรมณ์  ติระพัฒน์   เอิงเอย 002  นายก้องเกียรติ  ศิลป์ภูศักดิ์   อัฐ 003  นายเกียรติศักดิ์  ดำด้วง   เอ็มมี่ 004  นายจีรุตม์  ศรีราม   บิ๊ก 005  นายชนัตถ์  จันทร์วงค์   นัท 006  - 007  นางสาวฐานิญา  ช่วยบำรุง   พะแพง 008  - 009  - 010  นายตะวัน  แซ่ซำ   การ์ด 011  นายธนพงษ์  ไชยนุรักษ์   พี่บูม 012  นายธวัช  บัวก่น   บอลลี่ 013  นางสาวธิดารัตน์ เรืองเหมือน   แพร 014   - 015  นายนันทวุฒิ  ช่วยมณี   พี่บ่าว 016  นายนิติกร  ยอดสุวรรณ์   น๊อต 017   - 018  นายประพัฒน์พงษ์  ทองเอม   นุ๊ก 019  นายปิยวิทย์  สังข์เศรษฐ์   วิทย์ 020  - 021  นางสาวเพชรลดา  เขียวสุวรรณ  ฝน 022  - 023  นายภาคภูมิ ใจสมุทร   ภูมิ 024  นายมูฮัยมีน  ยะเลซู   มิง 025  นายยูโซฟ  ใบตาเย๊ะ   กำนัน 026  นายรุซดีย์  ยะลิน   ดี้ 027  นางสาวลัดดาวรรณ  แก้วเจริญ   ปาล์ม 028  นายวรายุทธ  ชูบุญลาภ   แม็ก 029   - 030  นางสาววารีซ่า  บาราสัน   วาวา 031  นางสาวศเร๊าะต้า  หมัดบก   ต้าร์ 032  นายศัตายา  แซ่เอี่ยม   แดนเนียล 033   - 034  นาย

ระบบขนถ่ายวัสดุอัตโนมัติ

รูปภาพ
การขนถ่ายวัสดุ (Material Handling) หมายถึง การจัดเตรียมสถานที่และตำแหน่งของวัสดุ โดยเป็นศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่ การบรรจุหีบห่อ การเก็บรักษา ซึ่งต้องอาศัยวิธีการในการเลือกเครื่องมือและอุปกรณ์ เพื่ออำนวยความสะดวกในการขนย้ายวัตถุดิบเข้ามาในสายการผลิต ให้เหมาะสมกับลักษณะงานจนเป็นสินค้า หรือผลิตภัณฑ์สำเร็จรูป ประเภทของอุปกรณ์ขนถ่ายวัสดุพื้นฐานทั่วไป           อุปกรณ์ขนถ่ายวัสดุที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน ได้มีการพัฒนาการออกแบบตามเทคโนโลยีขึ้นอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้มีความเหมาะสมกับการนำไปใช้งาน ดังนั้นอุปกรณ์ขนถ่ายวัสดุมีหลายประเภท ผู้เขียนขอยกตัวอย่างอุปกรณ์ขนถ่ายวัสดุพื้นฐานโดยทั่วไป มีดังนี้    1. สายพานลำเลียง (Belt Conveyor)           เป็นอุปกรณ์ที่ใช้แรงขับจากมอเตอร์ไฟฟ้า เพื่อให้สายพานเคลื่อนตัวไปอย่างต่อเนื่อง โดยวัสดุที่ใช้ในการลำเลียงจะวางอยู่บนสายพาน หรือบนลูกกลิ้งที่ขับหมุนด้วยสายพานเคลื่อนที่ ในการเคลื่อนย้ายวัสดุจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่ง ซึ่งเป็นไปได้ทั้งแบบต่อเนื่องและหยุดชะงัก ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับการควบคุมในการขนย้าย ได้ทั้งระยะสั้น ระยะยาว แน

เครื่องจักร NC

รูปภาพ
                               เครื่องจักร NC DNC CNC เครื่องจักร NC            NC   ย่อมาจาก  Numerical Control  หมายถึงการควบคุมการทำงานของเครื่อง  NC  ด้วยคำสั่งเชิงตัวเลขและตัวอักษรที่ถูกสร้างขึ้นมาในรูปของคำสั่งซึ่งก็คือ โปรแกรม  NC.  ระบบ  NC  ซึ่งนำมาใช้ในอุตสาหกรรมการผลิตของสหรัฐอเมริกาในปี ค.ศ. 1950  ซึ่งส่วนมากจะถูกนำมาใช้ในการควบคุมการทำงานของเครื่องมือกลเป็นส่วนใหญ่. ในปัจจุบันระบบ  NC  จะถูกแทนที่ด้วยระบบ  CNC  เกือบทั้งหมด ทั้งนี้เนื่องจากว่าในระบบ  NC  ไม่มีคอมพิวเตอร์ เข้ามาช่วยในการทำงาน  อีกทั้งเครื่องจักรที่ถูกควบคุมด้วย  NC   ก็ไม่มีการผลิตออกมาใช้งานแล้ว. เครื่องจักร DNC             คือ  คือระบบที่มีคอมพิวเตอร์กลางในการติดต่อสื่อสารแลกเปลี่ยนและกระจายข้อมูลซึ่งในที่นี้คือ โปรแกรม NC Data กับหน่วยควบคุม NC ของเครื่องจักรกลระบบ CNC แต่ละตัวได้เพื่อเป็นศูนย์กลางในการบริการข้อมูลทั้งรับข้อมูล และส่งข้อมูลจำเพราะให้กับเครื่องจักรกลระบบ CNC แต่ละเครื่องในเครือข่ายตามที่แต่ละเครื่องต้องการพร้อมๆ กันได้ในเว

หุ่นยนต์ในโรงงานอุตสาหกรรม

รูปภาพ
- หุ่นยนต์โรงงาน       หุ่นยนต์ถูกนำมาใช้ในหลายแวดวงอุตสาหกรรมเพื่อวางตำแหน่งชิ้นงานต่างๆ อย่างรวดเร็วและแม่นยำสูง หุ่นยนต์บางแบบ (ไม่จำกัดแต่เพียงการเคลื่อนที่ในแนวตั้งฉาก) มีส่วนประกอบข้อต่อหลายชิ้นส่วน เพื่อช่วยในการจำลองการเคลื่อนไหวของแขนมนุษย์ ส่วนข้อต่อเหล่านี้ต้องมีความแม่นยำในการเหวี่ยงสูง และมีความทนทานสูงเพื่อให้มั่นใจได้ว่า การหยุดกะทันหันจะไม่ทำให้การทำงานผิดพลาด และผลิตภัณฑ์ที่เป็นเอกลักษณ์ มีประสิทธิภาพและมีขนาดเล็กพอที่จะทำตามความต้องการเหล่านั้นได้ - หุ่นยนต์ใช้เก็บกู้ระเบิด ถูกสร้างขึ้นเพื่อ   จัดสร้ำงหุ่นยนต์ซึ่งท ำหน้ำที่เก็บกู้และท ำลำยวัตถุระเบิดซึ่งสำมำรถปฏิบัติ ภำรกิจแทนมนุษย์ได้จริง  หุ่นยนต์ที่จัดสร้ำงสำมำรถสนับสนุนภำรกิจเก็บกู้และท ำลำยวัตถุระเบิดและ สนับสนุนกำรปฏิบัติให้หน่วยงำนต่ำงๆได้ - หุ่นยนต์เลียนแบบมนุษย์           อาซิโม (Ashimo) คือหุ่นยนต์ฮิวแมนนอยนด์ (Humanoid) หรือหุ่นยนต์ที่เลียนแบบท่าทางต่าง ๆ ของมนุษย์ พัฒนาขึ้นมาโดยบริษัทฮอนด้า ประเทศญี่ปุ่น โดยฮอนด้า (Honda) ได้มีโครง